วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่3
วัพุที่25 2560
รี 08.30-12.30 น.
เนื้อหาการเรียน
        • ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
           เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
     เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติ ในด้านความชัดเจนในการปรับปรุงแต่งระดับและคุณภาพของเสียง จังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด 
   1.ความบกพร่องในด้านการปรุงเสียง (Articulator Disoders)
-เสียงบางส่วนของคำขาดหายไป
-ออกเสียงของตัวอื่นแทนตัวที่ถูกต้อง
   2.ความบกพร่องของจังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด(Speech Flow Disorders)
-พูดไม่ถูกตามลำดับขั้นตอน ไม่เป็นไปตามโครงสร้างของภาษา
-การเว้นวรรคตอนไม่ถูกต้อง
   3.ความบกพร่องของเสียงพูด(Voice Disor)
   
  ความบกพร่องทางภาษา หมายถึง การขาดความสามารถที่จะเข้าใจความหมายของคำพูด หรือไม่สามารถแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำได้
   1.การพัฒนาการทางภาษาช้ากว่าวัย
-มีความยากลำบากในการใช้ภาษา
-มีความผิดปกติของไวยากรณ์และโครงสร้างของประโยค
   2.ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจาก
-อ่านไม่ออก
-เขียนไม่ได้

     Gerstmann's syndrome
  -ไม่รู้ชื่อนิ้ว(finger agnosia)
  -ไม่รู้ซ้ายขวา(้allochiria)
  -คำนวณไม่ได้(acalculia)
  -เขียนไม่ได้(agraphia)
  -อ่านไม่ออก(alexia)

ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา
-ในวัยทารกมักเงียบผิดธรรมชาติ ร้องไห้เบาๆ และอ่อนแรง
-ไม่อ้อแอ้ภายในอายุ10เดือน

         เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
  -เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
  -มีปัญหาทางระบบประสาท

     โรคลมชัก(Epilepsy)
  -ความผิดปกติของระบบสมอง
1.การชักในช่วงเวลาสั้นๆ   อาการเหม่อนิ่งเป็นเวลา 5-10วินาที
2.อารชักแบบรุนแรง   กล้ามเนื้อเกร็ง ส่งเสียง เกิดขึ้นราว2-5นาที
3.อาการชักแบบPartial Complex   เหม่อนิ่ง รู้สึกตัวแต่ไม่รับรู้ไม่ตอบสนองคำพูด ไม่เกิน3นาที
4.อาการไม่รู้สึกตัว   เกิดขึ้นในระยะสั้น ไม่รู้สึกตัว อาจร้องเพลง ดึงเสื้อผ้า นั่งเหม่อ
5.ลมบ้าหมู   จะทำให้หมดสติ กล้ามเนื้อเกร็ง แขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น

     การปฐมพยาบาลพื้นฐานในกรณีเด็กมีอาการชัก
-จับเด็กนอนตะแคงขวาบนพื้นราบที่ไม่มีของแข็ง
-ดูดน้ำลายเสมหะเศษอาหารออกจากปาก
-จัดเสื้อผ้าใหหลวม

     ซี.พี.(สมองพิการ)
-สมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด
-การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า
-สติปัญญาปกติ
1.กลุ่มแข็งแรง
-อัมพาตครึ่งซีก
-อัมพาตครึ่งท่อนบน
-อัมพาตครึ่งท่อนล่าง
-อัมพาตทั้งตัว
2.กลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นเอง
-athetoid   อาการขยุกขยิกช้าๆ หรือเคลื่อนไหวเร็วๆ
-ataxia   มีความผิดปกติในการทรงตัว
3.กลุ่มอาการแบบผสม
-กล้ามเนื้ออ่อนแรง   เส้นประสาทสมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อส่วนนั้นๆ เสื่อสลายตัว
-โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ   ระบบกล้ามเนื้อกระดูก พิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก
-โรคกระดูกอ่อน
-โปลิโอ
-โรคศีรษะโต

สิ่งที่ได้รับ
ซีพีคือความผิดปกของร่างกายในส่วนของระบบประสาท แต่มีสติปัญญาที่ปกติ

ประเมินตนเอง
แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนและให้ความร่วมมือนการตอบคำถาม

ประเมินเพื่อน
ทุกคนตั้งใจฟังและเสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนที่ตนสงสัย

ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีคลิปวิดิโอประกอบการสอนทำให้นักศึกษามีความสนใจและได้ความรู้


วันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่2
วัพุ ที่18 2560
าเรี 08.30-12.30.

เนื้อหาการเรียน
       • ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
               1.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารสูง(เด็กปัญญาเลิศGifted)

ลักษณะ      -พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
                   -เรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
                   -อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบซักถาม
                   -เป็นคนตื่นตัว เฉียบแหลม ว่องไว และช่างสังเกต

                                              ลักษณะของเด็กฉลาดและGifted
                                             เด็กฉลาด                              Gifted
                                             ตอบคำถาม                           ตั้งคำถาม
                                             สนใจเรื่องที่ครูสอน               เรียนรู้สิ่งที่สนใจ
                                             เป็นผู้ฟังที่ดี                           ชอบเล่า
                                             พอใจในผลงานของตน         ติเตียนผลงานของตน


               2.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
                          2.1 เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญา หรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน เช่น
                               -เด็กเรียนช้า เป็นเด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ ขาดทักษะในการเรียนรู้ แต่สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้ ระดับสติปัญญา(IQ)71-90
สาเหตุของการเรียนช้า ภายนอก เศรษฐกิจของครอบครัว สภาวะทางอารมณ์ของครอบครัว
                                     ภายใน พฒนาการช้า มีการเจ็บป่วย
                                -เด็กปัญญาอ่อน ระดับสติปัญญาต่ำ จะมีพัฒนาการล่าช้าไม่เหมาสมกับวัย มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง อาการแสดงก่อนอายุ18
เด็กปัญญาอ่อน แบ่งตามระดับสติปัญญา(IQ)ได้ 4 กลุ่ม
1. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า20
ไม่สามารเรียนรู้ทักษะต่างๆได้เลย และต้องคอยได้รับการดูแลจากพยาบาล *อันตรายมาก
2. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-30
ไม่สามารถเรียนได้ ต้องการเฉพาะการฝึกหัด่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวันเบื้องต้นง่ายๆ C.M.R
3. เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49
เรียนทักษะเบื้องต้นง่ายๆได้ ฝึกอาีพหรือทำงานง่ายๆได้ ไม่ต้องใ้ความละเอียดละออ T.M.R
4. เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70
เรียนในระดับประมศึกษาได้ ฝึกอาชีพและงานง่ายๆได้ E.M.R
                                 -ดาวน์ซินโดรม สาเหตุคือความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่21เกินมา1แท่ง
อาการ ศีรษะเล็กและแบน คอสั้น หน้าแบน จมูกแบน ตาเฉียงขึ้น ปากเล็ก ใบหูเล็กอยู่ต่ำ ่องปากแคบ เพดานปากโค้งนูน นิ้วมือสั้น เส้นลายมือตัดขวาง นิ้วก้อยโค้งงอ
การตรววินิจฉัยก่อนคลอดกลุ่มอาการดาวน์ การเจาะเลือดของมารดาในระหว่างที่ตั้งครรภ์ อัลตราซาวด์ การตัดชิ้นเนื้อรก การเจาะน้ำคร่ำ
                            2.2 เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่อง หรือสูญเสียการได้ยิน เป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆ ได้ไม่ชัดเจน มี2ประเภทคือ เด็กหูตึง และ เด็กหูหนวก
                                  -เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน แต่สามารถรับข้อมูลได้ โดยใ้เครื่อง่วยฟัง จำแยกกลุ่มย่อยได้4กลุ่ม
1. เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินตั้งแต่ 26-40 db
2. เด็กหูตึงระดับปานกลาง ได้ยินตั้งแต่ 1-55 db
3. เด็กหูตึงระดับมาก ได้ยินตั้งแต่ 56-70 db
4. เด็กหูตึงระดับรุนแรง ได้ยินตั้งแต่71-90 db
                                   -เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยิน เครื่อง่วยฟังก็ไม่สามารถช่วยได้ ระดับการได้ยินตั้งแต่91 db ขึ้นไป
ลักษณะ ไม่ตอบสนองเสียงพูด มักแสดงท่าทาง ไวต่อการสัมผัสและสั่นสะเทือน


                3. เด็กบกพร่องทางการเห็น หมายถึง เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นสงเลือนราง สามารถเห็นได้ไม่ถึง1/10 ของคนสายตาปกติ มีลานสายตากว้างไม่เกิน30องศา จำแนกได้เป็น2ประเภท
                                 -เด็กตาบอด คือเด็กที่ไม่สามารมองเห็นได้เลย หรือมองเห็นบ้าง ใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้ มีสายตาข้างดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60 , 2/200 ลงมาจนึงบอดสนิท มีลานสายตาแคบกว่า5องศา
                                 -เด็กตาบอดไม่สนิท สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ สายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ6/18 , 20/60 , 6/60 , 20/200 หรือน้อยกว่านั้น มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน30องศา

สิ่งที่ได้รับ
เด็กที่มีความต้องการพิเศษที่อยู่ในขั้นไม่รุนแรงสามารถเรียนร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียนได้เพื่อฝึกทักษะ

ประเมินตนเอง
มีสมาธิจดจ่อกับการเรียนการสอนและสามารถเข้าใจในเนื้อหาที่อาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน
ทุกคนแต่งกายเรียบร้อยตามระเบียบ และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนขณะเรียน

ประเมินอาจารย์
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลามีการนำเสนอการสอนที่สนใจ และแต่งกายสุภาพเรียบร้อย


วันเสาร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่1
วัพุ ที่11 2560
รี08.30-12.30.

ย์ปั๊ห้นัศึพื่วัที่ข้รี

Course Syllabus

รู้


เนื้อหาการเรียน
       • ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
                  ทางการแพทย์ = เด็กที่มีความผิดปกติ มีความบกพร่อง สูญเสียสมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ
                  ทางการศึกษา = เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้ และการประเมินผล
         • พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
                  พัฒนาการ = การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล ทำให้สามารทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
                  เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ = พัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
         • ปัจจัยที่ผลต่อการพัฒนาเด็ก
                  ด้านชีวภาพ 
                  ด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด = แม่ดื่มเหล้า , สูบบุหรี่
                  ด้านกระบวนการคลอด = เด็กสำลักน้ำคร่ำ , หมอจับอวัยวะเด็กแรงเกินไป
                  ด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด = การเลี้ยงดู , อุบัติเหตุ
        • สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
                 1. พันธุกรรม เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแตเกิดหรื่วงระยะไม่นานหลังเกิด
                      เช่น         ธาลัสซีเมีย (โลหิตจาง) = จะตัวเล็กผิดปกติ,ซีด,ตาเหลือง,อาจมีผลเรื้อรังที่ขา
                 2. โรคของระบบประสาท จะมีอาการชักบ่อย(ประสาทผิดปกติ)
                 3. การติดเชื้อ ติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวน้อย ศีรศะเล็ก ตับม้ามโต ต้อกระจก
                 4. ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม(ฮอร์โมน) 
                     เช่น          ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ = เกิดจากพันธุกรรม,ฉายแสง,ผ่าตัด
                 5. ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด เกิดก่อนกำหนด,น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อยและขาดออกซิเจน
                 6. สารเคมี
                     เช่น           ตะกั่ว = จะทำให้มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ 
                                       แอลกอฮอล์ = น้ำหนักแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็ก สติปัญญาบกพร่อง
                                      โรคFAS = ช่องตาสั้น ริมฝีปากบนเรียบ หนังคลุมหัวตามาก จมูกแบน7
                                       นิโคติน = น้ำหนักแรกเกิดน้อย สติปัญญาบกพร่อง สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว
                 7. การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร (มีโอกาสเป็นเด็กพิเศษน้อยที่สุด)
                 8. สาเหตุอื่นๆ อุบัติเหตุ,รถชน,ถูกกระแทก
         • อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
                     มีพัฒนาการล่าช้าอาจพบมากกว่า1ด้าน , มีปฏิกิริยาสะท้อน(primitive reflex)ไม่หายไป
         • การประเมินพัฒนาการ
                     การประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ
                     เช่น            แบบทดสอบ Denver ll
                                       Gesell Drowing Test
                                       แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด-5ปี สถาบันราชานุกูล

*Gesell Drowing Test
ให้ดูภาพและวาดทีละภาพในเวลาที่กำหนด

This is my work


สิ่งที่ได้รับ
เด็กพิเศษหรือเด็กปกติสามารถเรียนร่วมกันได้หากมีวิธีและการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมให้กับเขา

ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังอาจารย์บรรยายการสอน แต่งกายเรียบร้อยและเข้าเรียนตรงเวลาที่กำหนด

ประเมินเพื่อน
ทุกคนให้ความร่วมมืออาจารย์ในการตอบคำถามและไม่คุยกันขณะที่อาจารย์กำลังสอน

ประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้ความสำคัญในกระบวนการเรียนของนักศึกษา ทบทวนในเรื่องที่ยังไม่เข้าใจให้นักศึกษา